ทะเบียนพรรณไม้
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-001
ชื่อพื้นเมือง: โกสน
ชื่อวิทยาศาสตร์: Codiaeum variegatum Blume
ชื่อวงศ์: EUPHORBIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: มีสีสันของใบหลายสี
ในใบหรือต้นเดียวกัน
บริเวณที่พบ: บริเวณสวนต้นไทร
บริเวณลานจอดรถ บริเวณหน้าเสาธง
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-002
ชื่อพื้นเมือง: จั๋งญี่ปุ่น
ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhapis excelsa (Thunb.) Henry ex Rehder
ชื่อวงศ์: PALMAE
ลักษณะวิสัย: ปาล์ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใบรูปมือปลายใบแหลมบริเวณที่พบ: บริเวณโรงเรียน
บริเวณสวนต้นไทร บริเวณศาลพระภูมิ
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-003
ชื่อพื้นเมือง: กระบือเจ็ดตัว
ชื่อวิทยาศาสตร์: Excoecaria cochinchinensis Lour.
ชื่อวงศ์: EUPHORBIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใต้ใบมีสีแดง
บริเวณที่พบ: บริเวณประตูเรือนไม้
บริเวณสวนต้นไทร
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-004
ชื่อพื้นเมือง: ข่อย
ชื่อวิทยาศาสตร์: Streblus asper Lour.
ชื่อวงศ์: MORACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้น
ลักษณะเด่นของพืช: ใบหนาหยาบคล้ายกระดาษทราย
บริเวณที่พบ: บริเวณศาลพระภูมิ
บริเวณลานจอดรถ บริเวณสวนต้นไทร
ตัวตุ๊กตาบริเวณศาลา
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-005
ชื่อพื้นเมือง: พุดฝรั่ง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Tabernaemontana pandacaqui Poir.
ชื่อวงศ์: APOCYNACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกเกิดเป็นช่อ
ตามปลายกิ่ง ฝักมีสีเขียวเหลืองส้ม
เมื่อสุกมีสีแดง
บริเวณที่พบ: ประตูเรือนไม้
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-006
ชื่อพื้นเมือง: บุหงาส่าหรี
ชื่อวิทยาศาสตร์: Citharexylum spinosum L.
ชื่อวงศ์: VERBENACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้น
ลักษณะเด่นของพืช: ก้านใบสีส้ม
ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ
บริเวณที่พบ: สวนวิทยาศาสตร์
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-007
ชื่อพื้นเมือง: มะม่วงบ้าน มะม่วงสวน
ชื่อวิทยาศาสตร์: Mangifera indica L.
ชื่อวงศ์: ANACARDIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้น
ลักษณะเด่นของพืช: ลำต้นตรง
เรือนยอดกลม ใบเดี่ยว ดอกสีนวลออกป็นช่อบริเวณที่พบ: บริเวณด้านข้างริมรั้วศาลา บริเวณต้นไทร
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-008
ชื่อพื้นเมือง: ไทรยอดทอง ไทรทอง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Ficus sp.
ชื่อวงศ์: MORACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้น
ลักษณะเด่นของพืช: กิ่งกระจายรอบต้น
พุ่มทรงกลมมีน้ำยางสีขาวบริเวณที่พบ: บริเวณสนามเด็กเล่น
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-009
ชื่อพื้นเมือง: พุทธชาติ
ชื่อวิทยาศาสตร์: Jasminum auriculatum Vahl
ชื่อวงศ์: OLEACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้เลื้อย
ลักษณะเด่นของพืช: ออกดอกเป็นช่อ
ที่ส่วนยอดของกิ่งและตามข้อต้นมีกลิ่นหอมบริเวณที่พบ: บริเวณต้นมะม่วง
สวนคณิตศาสตร์
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-010
ชื่อพื้นเมือง: นีออน
ชื่อวิทยาศาสตร์: Leucophyllum frutescens (Berl.) Johnson
ชื่อวงศ์: SCROPHULARIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใบรูปไข่มีสีเขียวอมเทา มีขนอ่อนนุ่ม ดอกออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง
บริเวณที่พบ: หน้าห้องดนตรีสากล
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-011
ชื่อพื้นเมือง: สัก
ชื่อวิทยาศาสตร์: Tectona grandis L.f.
ชื่อวงศ์: LABIATAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้น
ลักษณะเด่นของพืช: ใบเดี่ยวใหญ่มาก
ผิวใบขนสากขยี้ใบสดจะมีสีแดงเหมือนเลือด
บริเวณที่พบ: บริเวณลานจอดรถ
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-012
ชื่อพื้นเมือง: พลับพลึงสีขาว
ลิลัว วิรงรอน
ชื่อวิทยาศาสตร์: Crinum asiaticum L.
ชื่อวงศ์: AMARYLLIDACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ล้มลุก
ลักษณะเด่นของพืช: ใบเดี่ยว เป็นแถบกว้างและยาวอวบน้ำ ปลายเรียวแหลม
บริเวณที่พบ: บริเวณสวนพรรณไม้ โต๊ะปิงปอง
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-013
ชื่อพื้นเมือง: พุดตะแคง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Brunfelsia americana L.
ชื่อวงศ์: SOLANACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกให้สีสองระยะ
คือช่วงเริ่มบานสีขาว บานเต็มที่สีเหลือง
บริเวณที่พบ: บริเวณต้นไทรประตูเรือนแก้ว
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-014
ชื่อพื้นเมือง: ทองอุไร
ชื่อวิทยาศาสตร์: Tecoma stans (L.) Kunth
ชื่อวงศ์: BIGNONIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใบรูปหอกหรือรูปไข่แกมขนาน ขอบหยัก กลีบดอกรูประฆัง
บริเวณที่พบ: สวนวิทยาศาสตร์
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-015
ชื่อพื้นเมือง: ปรงญี่ปุ่น
ชื่อวิทยาศาสตร์: Cycas revoluta Thunb.
ชื่อวงศ์: CYCADACEAE
ลักษณะวิสัย: ปรง
ลักษณะเด่นของพืช: ใบย่อยแคบแข็ง
ปลายแหลมสีเขียวเข้มเป็นมันขอบใบม้วน
เข้าหากลางใบ
บริเวณที่พบ: บริเวณประตูแสงเพชรและ
ประตูเรือนไม้
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-016
ชื่อพื้นเมือง: กุหลาบหนู
ชื่อวิทยาศาสตร์: Rosa chinensis Jacq.
ชื่อวงศ์: ROSACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: กลีบหลายชั้นสีสด
บริเวณที่พบ: หน้าเสาธงชาติ
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-017
ชื่อพื้นเมือง: เทียนหยด
ชื่อวิทยาศาสตร์: Duranta repens L.
ชื่อวงศ์: VERBENACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ลำต้นแตกกิ่งเป็น
จำนวนมาก ใบขอบจักฟันเลื่อย
บริเวณที่พบ: บริเวณต้นไทรบริเวณเรือนแก้ว
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-018
ชื่อพื้นเมือง: ก้ามกุ้งสีทอง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Heliconia sp.
ชื่อวงศ์: HELICONIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ล้มลุก
ลักษณะเด่นของพืช: ปลายใบแหลมมีติ่งโคนมนหรือแหลมเป็นรูปลิ่ม
บริเวณที่พบ: บริเวณหน้าห้องสมุด
หลังห้อง sound lab
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-019
ชื่อพื้นเมือง: มะลุลี
ชื่อวิทยาศาสตร์: Jasminum multiflorum (Burm.f.) Andr.
ชื่อวงศ์: OLEACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้เลื้อย
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกมีสีขาวมีกลิ่นหอม
บริเวณที่พบ: บริเวณเสาธงชาติ
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-020
ชื่อพื้นเมือง: ช้องนาง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Thunbergia erecta (Benth.) T.Anderson
ชื่อวงศ์: ACANTHACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกสีน้ำเงินม่วง
ตรงกลางดอกสีเหลือง
บริเวณที่พบ: บริเวณหลังสวนวรรณคดี
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-021
ชื่อพื้นเมือง: หมากเขียว ปาล์มหมาก
หมากพร้าว
ชื่อวิทยาศาสตร์: Ptychosperma macarthurii H.Wendl.
ชื่อวงศ์: PALMAE
ลักษณะวิสัย: ปาล์ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ
บริเวณที่พบ: บริเวณโรงอาหาร บริเวณหน้าห้องสมุด
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-022
ชื่อพื้นเมือง: หูกระจง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Terminalia ivorensis A.Chev.
ชื่อวงศ์: COMBRETACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้น
ลักษณะเด่นของพืช: เรือนยอดรูปไข่หนาทึบ เปลือกสีน้ำตาลแตกเป็นร่อง
บริเวณที่พบ: บริเวณสนามเด็กเล่น
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-023
ชื่อพื้นเมือง: มังกรคาบแก้ว
ชื่อวิทยาศาสตร์: Clerodendrum thomsoniae Balf.f.
ชื่อวงศ์: LABIATAE
ลักษณะวิสัย: ไม้เลื้อย
ลักษณะเด่นของพืช: กลีบดอกสีแดงเข้ม
กลีบเลี้ยงสีขาวรูปหัวใจ
บริเวณที่พบ: บริเวณเสาธงชาติ
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-024
ชื่อพื้นเมือง: เข็มเศรษฐี เข็มแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Ixora sp.
ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ปลายใบแหลม โคนใบมน แผ่นใบสีเขียวเป็นมัน
บริเวณที่พบ: บริเวณสนามเด็กเล่น
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-025
ชื่อพื้นเมือง: ชวนชม ลั่นทมแดง ลั่นทมยะวา
ชื่อวิทยาศาสตร์: Adenium obesum (Forssk.) Roem. & Schult.
ชื่อวงศ์: APOCYNACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ต้นและกิ่งก้านใบ มียางใส
บริเวณที่พบ: บริเวณสนามเด็กเล่น
บริเวณประตูแสงเพชร
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-026
ชื่อพื้นเมือง: ชาดัดใบมัน
ชื่อวิทยาศาสตร์: Carmona retusa (Vahl) Masam.
ชื่อวงศ์: BORAGINACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใบปลายแยกเป็นพู
แหลมมักเป็นติ่งหนามอ่อนบริเวณที่พบ: บริเวณสนามเด็กเล่น
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-027
ชื่อพื้นเมือง: คูน ราชพฤกษ์ ลมแล้ง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Cassia fistula L.
ชื่อวงศ์: LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้น
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกสีเหลืองออกเป็น
ช่อตามซอกใบ
บริเวณที่พบ: บริเวณใกล้เสาธง
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-028
ชื่อพื้นเมือง: การเวก
ชื่อวิทยาศาสตร์: Artabotrys siamensis Miq.
ชื่อวงศ์: ANNONACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้รอเลื้อย
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกออกเป็นช่อ
มีสีเหลืองกลิ่นหอมแรง
บริเวณที่พบ: สวนไม้ในวรรณคดี
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-029
ชื่อพื้นเมือง: สายหยุด
ชื่อวิทยาศาสตร์: Desmos chinensis Lour.
ชื่อวงศ์: ANNONACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้รอเลื้อย
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกเมื่อตูมจะเป็น
สีเขียวเมื่อบานจะเป็นสีเหลือง บริเวณที่พบ: สวนไม้ในวรรณคดี
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-030
ชื่อพื้นเมือง: เฟื่องฟ้า ตรุษจีน
ดอกต่างใบ ดอกกระดาษ
ดอกต่างใบ ดอกกระดาษ
ชื่อวิทยาศาสตร์: Bougainvillea spectabilis Willd.
ชื่อวงศ์: NYCTAGINACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้รอเลื้อย
ลักษณะเด่นของพืช: ต้นมีหนามแหลมคม
บริเวณที่พบ: บริเวณเสาธง บริเวณหน้า
สนามเด็กเล่น
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-031
ชื่อพื้นเมือง: ปัตตาเวีย
ชื่อวิทยาศาสตร์: Jatropha integerrima Jacq.
ชื่อวงศ์: EUPHORBIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใบเดี่ยวเรียงสลับ
ใบรูปรีถึงรูปไข่บริเวณที่พบ: บริเวณประตูเรือนไม้ บริเวณ
ใกล้ต้นมะม่วง
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-032
ชื่อพื้นเมือง: มะลิลา
ชื่อวิทยาศาสตร์: Jasminum sambac (L.) Aiton
ชื่อวงศ์: OLEACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้รอเลื้อย
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกมีสีขาวกลิ่นหอม
บริเวณที่พบ: บริเวณต้นมะม่วงใกล้กล้วยไม้
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-033
ชื่อพื้นเมือง: อัญชัน
ชื่อวิทยาศาสตร์: Clitoria ternatea L.
ชื่อวงศ์: LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้เลื้อย
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกสีน้ำเงินเข้ม
เมื่อดอกบานจะคล้ายปีกผีเสื้อ
บริเวณที่พบ: บริเวณหลังสวนวรรณคดี
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-034
ชื่อพื้นเมือง: มะขาม
ชื่อวิทยาศาสตร์: Tamarindus indica L.
ชื่อวงศ์: LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้น
ลักษณะเด่นของพืช: กลีบดอกสีเหลืองและ
มีจุดปะะสีแดงม่วงแดงอยู่กลางดอก
ผลเป็นฝักยาวบริเวณที่พบ: บริเวณทางเดินอนุบาล
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-035
ชื่อพื้นเมือง: มิกกี้เมาส์
ชื่อวิทยาศาสตร์: Ochna kirkii Oliv.
ชื่อวงศ์: OCHNACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ขอบใบจะมีลักษณะ
มีหนามเล็กน้อย
บริเวณที่พบ: บริเวณประตูเรือนไม้
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-036
ชื่อพื้นเมือง: ยอ ยอบ้าน
ชื่อวิทยาศาสตร์: Morinda citrifolia L.
ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้นขนาดเล็ก
ลักษณะเด่นของพืช: เนื้อใบสีเขียวเป็นมัน
หูใบอยู่ระหว่างโคนก้านใบ
บริเวณที่พบ: บริเวณหน้าประตูแสงเพชร บริเวณหน้าประตูเรือนแก้ว
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-037
ชื่อพื้นเมือง: พลูด่าง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Epipremnum aureus Engl.
ชื่อวงศ์: ARACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้เลื้อย
ลักษณะเด่นของพืช: ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปหัวใจ
บริเวณที่พบ: หน้าห้องธุรการ
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-038
ชื่อพื้นเมือง: ขนุน
ชื่อวิทยาศาสตร์: Artocarpus heterophyllus Lam.
ชื่อวงศ์: MORACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้น
ลักษณะเด่นของพืช: ลำต้นจะมีน้ำยางขาวข้น
บริเวณที่พบ: บริเวณประตูเรือนแก้ว บริเวณประตูเรือนไม้
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-039
ชื่อพื้นเมือง: ไทร ไทรกระเบื้อง ไทรย้อย
ชื่อวิทยาศาสตร์: Ficus sp.
ชื่อวงศ์: MORACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้น
ลักษณะเด่นของพืช: ทุกส่วนจะมียางสีขาว
บริเวณที่พบ: บริเวณสวนต้นไทร
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-040
ชื่อพื้นเมือง: หมากผู้หมากเมีย
ชื่อวิทยาศาสตร์: Cordyline fruticosa (L.) Gopp.
ชื่อวงศ์: AGAVACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ลำต้นมีข้อถี่สีน้ำตาลอ่อนใบเป็นรูปหอกปลายแหลม
บริเวณที่พบ: บริเวณต้นมะม่วงสวนคณิตศาสตร์ บริเวณประตูเรือนแก้ว
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-041
ชื่อพื้นเมือง: เอื้องทอง กนกลายไทย
ชื่อวิทยาศาสตร์: Sanchezia speciosa Leonard
ชื่อวงศ์: ACANTHACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใบสีเขียวมีแถบเหลือง ออกดอกเป็นช่อ
บริเวณที่พบ: บริเวณทางเดิน ประตูเรือนไม้
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-042
ชื่อพื้นเมือง: โมก
ชื่อวิทยาศาสตร์: Wrightia religiosa Benth. ex Kurz
ชื่อวงศ์: APOCYNACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: มีกลีบดอก 5 กลีบ
สีขาวมีกลิ่นหอม
บริเวณที่พบ: บริเวณศาลพระภูมิ
บริเวณลานจอดรถ บริเวณต้นไทร
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-043
ชื่อพื้นเมือง: หนวดปลาหมึกแคระ
ชื่อวิทยาศาสตร์: Schefflera arboricola (Hayata) Hayata
ชื่อวงศ์: ARALIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใบประกอบรูปฝ่ามือ
เรียบสลับ
บริเวณที่พบ: บริเวณหน้าห้องสมุด
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-044
ชื่อพื้นเมือง: มะยม
ชื่อวิทยาศาสตร์: Phyllanthus acidus (L.) Skeels
ชื่อวงศ์: EUPHORBIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้ต้น
ลักษณะเด่นของพืช: กิ่งก้านเปราะแตกง่าย เปลือกต้นขรุขระสีเทาปนน้ำตาล
บริเวณที่พบ: บริเวณห้องธุรการและสวนพรรณไม้ในวรรณคดี
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-045
ชื่อพื้นเมือง: เทียนทอง ชาสีทอง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Duranta repens L.
ชื่อวงศ์: VERBENACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใบเดี่ยวรูปรีถึงรูปไข่
ขอบใบหยัก
บริเวณที่พบ: บริเวณหน้าเสาธง
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-046
ชื่อพื้นเมือง: เข็มพิษณุโลกชมพู เข็มฝรั่ง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Ixora sp.
ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใบมีขนาดเล็ก
ออกดอกตลอดปี
ออกดอกตลอดปี
บริเวณที่พบ: บริเวณสนามเด็กเล่น
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-047
ชื่อพื้นเมือง: จั๋งไทย จั๋งแคระ
ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhapis subtilis Becc.
ชื่อวงศ์: PALMAE
ลักษณะวิสัย: ปาล์ม
ลักษณะเด่นของพืช: มีใบรูปฝ่ามือ
บริเวณที่พบ: บริเวณหน้าประตูเรือนแก้ว บริเวณต้นไทร
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-048
ชื่อพื้นเมือง: พุดพิชญา
สีขาวล้อมรอบ
ชื่อวิทยาศาสตร์: Wringhtia antidysenterica R.Br.
ชื่อวงศ์: APOCYNACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกเป็นกลีบแยก
5 กลีบ เกสรตรงกลางสีเหลือง มีฝอยเกสรสีขาวล้อมรอบ
บริเวณที่พบ: บริเวณหน้าเสาธง
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-049
ชื่อพื้นเมือง: ประยงค์
ชื่อวิทยาศาสตร์: Aglaia odorata Lour.
ชื่อวงศ์: MELIACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกออกสลับ
มีใบย่อย 5 ใบ
บริเวณที่พบ: สวนไม้ในวรรณคดี
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-050
ชื่อพื้นเมือง: เล็บมือนาง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Quisqualis indica L.
ชื่อวงศ์: COMBRETACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้เลื้อย
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกออกเป็นช่อ ลักษณะดอก
เป็นปากแตร ปลายแยกเป็น5 กลีบ มีกลิ่นหอม
บริเวณที่พบ: สวนไม้ในวรรณคดี
รหัสพรรณไม้: 7-10230-004-051
ชื่อพื้นเมือง: แก้วแคระ แก้วขาว แก้วขี้ไก่
ชื่อวิทยาศาสตร์: Murraya paniculata (L.) Jack
ชื่อวงศ์: RUTACEAE
ลักษณะวิสัย: ไม้พุ่ม
ลักษณะเด่นของพืช: ดอกกลิ่นหอมมากและบานในเวลา
กลางคืน
บริเวณที่พบ: สวนวิทยาศาสตร์